1. วางแผน ควบคุมค่าใช้จ่าย
ทุกเดือน คุณควรวางแผนกำหนดค่าใช้จ่ายให้ละเอียด เพื่อที่คุณจะได้รู้ว่าค่าใช้
จ่ายส่วนไหนจำเป็นหรือไม่จำเป็น โดยแบ่งค่าใช้จ่ายออกเป็น 3ประเภท ดังนี้
ค่าใช้จ่ายที่จำเป็น หมายถึงค่าใช้จ่ายที่มีจำนวนเงินที่แน่นอน เช่น ค่าเช่าบ้ าน, ค่าผ่ อ นบ้ าน, ผ่ อ นรถ เป็นต้น ซึ่งคุณจะต้องจ่าย
เป็นประจำทุกเดือนอยู่แล้ว ดังนั้นส่วนนี้จึงควรเก็บแยกไว้ต่างหากเลย เมื่อถึงวันจ่ายจริงจะได้ไม่มีปัญหาตามมานั่นเอง
ค่าใช้จ่ายผันแปร หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่มักจะขึ้น-ลงอยู่เสมอ เช่นค่าอ า ห า ร, ค่าเดินทาง, ค่าสื่อส า ร เป็นต้น ส่วนนี้ก็ถือว่าเป็นส่วน
ที่จำเป็นเหมือนกัน แต่จะไม่สามารถกำหนดค่าใช้จ่ายที่แน่นอนได้ จึงควรเผื่อค่าใช้จ่ายของส่วนนี้ไว้พอสมควรเลยทีเดียว
ค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือย หมายถึง ค่าใช้จ่ายส่วนเกิน ที่เราควรตัดออก และใช้เพียงนานๆครั้ง เช่น ค่าเสื้อผ้า, ค่าเครื่องสำอางค์, ค่าเดิน
ทางท่องเที่ยว เป็นต้น ส่วนนี้หากไม่จำเป็นไม่ควรใช้จ่ายจะดีที่สุด
หรือไม่งั้นหากมีเงินเหลือเฟือหลังจากคำนวณค่าใช้จ่ายต่างๆ แล้ว ก็อาจจะใส่ในส่วนนี้ไปสักหน่อยก็ได้ แต่ก็อย่ามากเกินไปนะ
และเมื่อคุณแยกค่าใช้จ่ายได้ตามแผนด้านบนนี้แล้ว คุณจะรู้ได้ทันที ว่าคุณควรจัดการอย่างไรกับค่า
ใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นเหล่านั้น และยังทำให้คุณจัดสรรเงินได้อย่างเป็นระบบมากขึ้นอีกด้วย
อ้อ! อย่าลืมจัดสรรเงินเข้าบัญชีเงินออมด้วยนะจะได้มีเงินไว้ใช้ในอนาคตด้วยนั่นเอง
2. กำหนดค่าใช้จ่ายต่อวัน
เมื่อคุณวางแผนค่าใช้จ่าย และจัดการจ่ายเงินในส่วนค่าใช้จ่ายที่จำเป็นไปเรียบร้อยแล้ว
คราวนี้ให้มาดูรายได้ส่วนที่เหลือกันบ้ าง แล้วกำหนดว่าคุณจะใช้เงินเป็น รายวัน, รายสัปดาห์, รายสิบวัน
เลือกมาแบบใดแบบหนึ่ง แล้วหารจำนวนเงินนั้นตามส่วน เช่น ถ้าคุณเหลือเงินอยู่ 10,000 บาท
และต้องการแบ่งเงินใช้จ่ายเป็นรายสัปดาห์ ให้เอาจำนวนเงินมาหารด้วย 4 แล้ว
จะได้ผลลัพท์คือ 2,500 บาท/1 สัปดาห์ เพราะฉะนั้น ใน1 สัปดาห์ คุณจะใช้เงินอย่างไรก็ได้ ที่ไม่เกินจากเงินจำนวนนี้
3. แบ่งเงินออม
อย่าลืมคิดถึงอนาคต ด้วยการแบ่งเงินสำหรับออม จำไว้ว่ามีน้อยออมน้อย มีมากออมมาก ดีกว่าไม่คิดเก็บออมเลย
จำนวนเงินขั้นต่ำในการออม แนะนำว่าควรเริ่มต้นที่ 10% ของเงินเดือนโดยประมาณ
เช่นคุณได้รับเงินเดือน 1,000 บาท คุณก็ควรแบ่งเงินออมเข้าฝากในธนาคารเดือนละ 1,000 บาทเป็นขั้นต่ำ
หรืออีกวิธีหนึ่งก็คือ หักค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยมาแปรเป็นเงินเก็บแทน เช่น คุณเคยซื้ อเสื้อผ้าทุกเดือน
เดือนละประมาณ 2,000บาท คุณก็เอาส่วนนี้แหละมาเปลี่ยนเป็นเงินฝาก
อย่าลืมว่าคุณมีเสื้อผ้าเยอะแล้ว ต่อจากนี้จะงดซื้ อเสียบ้ าง ก็คงไม่เป็นไร
4. อย่าใช้เงินเกินตัว
คนญี่ปุ่นมีคติการใช้เงินที่น่าจำไว้เป็นแบบอย่างหลายเรื่อง หนึ่งในนั้นก็คือ
เรื่องของภาพลักษณ์ภายนอก ถ้าคุณอย ากดูดี ก็ไม่จำเป็นต้องใช้สินค้า แ บ ร น ด์ เนมทุกชิ้นไป
เลือกเฉพาะแบบที่เหมาะกับรูปร่าง และช่วยเสริมบุคลิกของคุณให้ดูดี ถึงสินค้าตัวนั้นจะไร้ แ บ ร น ด์
แต่ถ้ามันช่วยส่งเสริมบุคลิกภาพที่ดีให้คุณได้ คุณก็ไม่ควรลังเล อย่าลืมว่าคุณใช้เงินเพื่ออนาคตของตัวคุณเอง ไม่ได้ใช้เพื่อให้สังคมตัดสินว่าคุณมั่งมีหรือย ากจน
สังคมไทยมักมีความเชื่อแบบผิดๆ ตัดสินคนที่วัตถุนิยม ดังนั้น ถ้าคุณอย ากมีอิสระทางการเงิน คุณต้องทำตัวสวนกระแส
5. งดใช้บัตรเครดิต ถ้าไม่จำเป็น
บัตรเครดิต ไม่ได้ตอบโจทย์ทุกความต้องการของชีวิตตามที่คุณเข้าใจ แต่มันคือกลลวงรูปแบบหนึ่ง
ที่คาดหวังดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียมจากคุณ โดยการนำของสมนาคุณหรือส่วนลดต่างๆมาหลอกล่อ
ดังนั้นคุณจึงควรจัดบัตรเครดิต ไว้ในอันดับท้ายๆ ถ้าไม่จำเป็นจริงๆ ก็ไม่ควรหยิบมันออกมาใช้จ่ายโดยเด็ดขาด
ทางที่ดีแนะนำว่าไม่ควรสมัครบัตรเครดิต ตั้งแต่ต้น เพราะถึงแม้จะช่วยเพิ่ม
ความสะดวกสบายให้กับคุณได้จริงแต่นั่นก็เป็นดั่งดาบสองคมที่พร้อมจะทำร้ า ยคุณได้เหมือนกัน
หวังว่า 5 ข้อนี้คงเป็นแนวทางที่ดีสำหรับผู้ที่อย ากมีอิสระทางการเงิน เพราะก่อนที่คุณจะมีชีวิตแบบนั้นได้
คุณต้องรู้จักควบคุมตนเอง และวางแผนกำหนดค่าใช้จ่ายอย่างรัดกุมก่อน
จำไว้ว่า หากไม่เดินทางอย่างหนัก คุณก็จะไม่มีวันขึ้นสู่ยอดเขาได้
ขอบคุณขอมูลจาก : m o n e y h u b
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น