“ขายดีจนเจ๊ง” อยากทำธุรกิจค้าขาย อย่ า มองข้าม (ข้อคิด คนธุรกิจค้าขาย) - HotNews

“ขายดีจนเจ๊ง” อยากทำธุรกิจค้าขาย อย่ า มองข้าม (ข้อคิด คนธุรกิจค้าขาย)

 


คุณเข้าใจไม่ผิดหรอก หมายถึงอย่างนั้นจริงๆ ข ายดี จนกระทั่งธุรกิจ เจ๊ ง…

จนต้องปิดตัวลง แบบที่เจ้าตัวยังงงๆ อยู่เลยว่าเกิดอะไรขึ้น เหตุการณ์อย่างนี้ มักเกิดขึ้น

กับเจ้าของกิจการ ขนาดเล็กในบ้ านเรา และมีให้เห็นมากมาย (ร้านอ า ห า ร ร้านจิปาถะ )

ที่เริ่มต้นเติบโตจากระบบเจ้าของคนเดียว มีความเชี่ยวชาญเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จึงนำเอาความเชี่ยวชาญนั้น

มาทำธุรกิจจนประสบความสำเร็จในการทำ และมีลูกค้ ามากมาย แต่วันหนึ่งก็เกิดการซวนเซ

แล้วเ จ๊ งไปซะง่ายๆ ซะงั้น มีเพื่อนรายหนึ่งอยู่ในอาก ารที่ว่ามานี้ แต่โชคดีที่ มาถามก่อนเจ๊ ง

เพ ราะเพื่อนเข้ามาถามผมว่าเป็นเพ ราะอะไร

เกิดอะไรขึ้นทั้งๆ ที่ ธุรกิจไปได้ดีตลอด

ลูกค้ าเยอะ ยอดข ายแต่ละวันนับเงินเมื่อยมือเลย

แต่ว่าต้องไปกู้หนี้ยืม สินมาใช้ในธุรกิจเหมือนเติมไม่เต็มตลอด หลายปีที่ทำธุรกิจมานั้น

ผมเริ่มต้นจากคำถามง่ายๆ ว่า การเป็นเจ้าของกิจการ

มีเงินเดือนเดือนละเท่าไหร่ เงียบ!!

แทนคำตอบก่อนที่จะถามกลับมาว่า…

ทำไมต้องมีเงินเดือน ก็ในเมื่อเป็นเจ้าของอยู่แล้วไง

ผมถามคำถามที่สองไปอีกว่า แล้วเจ้าของใช้เงินเดือนละเท่าไหร่ ลังเลนิดหนึ่งก่อนจะตอบว่า…

ไม่รู้ว่า ในแต่ละเดือนใช้ไปละเท่าไหร่

เพร าะจะใช้อะไร ก็หยิบไป ไม่ได้จดไว้ว่า เท่าไหร่ ถ้าไม่พอก็รอให้เงินพอก่อน

แล้วค่อยหยิบ จากนั้นจึงถามคำถามที่สาม เงินที่หยิบจากลิ้นชักไปนั้น เอาไปซื้ออะไร

และ คราวนี้สาธย ายย าวเลย ก็ซื้อทุกอย่างที่ต้องการกินข้าว ซื้อของเข้าบ้ านเลี้ยงสังสรรค์ ผ่ อ น รถ และอีกมากมาย สรุปง่ายๆ เหล่านี้แหละ

สาเหตุที่คนทำธุรกิจที่โตมากับมือ ส่วนมากเป็นแบบเพื่อนผม ไม่เคยตั้งเงินเดือน ให้ตัวเอง

ไม่เคยจดว่าใช้เงินไปแค่ไหน และใช้ไปกับอะไร และทำเป็นสรุปแบบข้อๆ ได้ 3 สาเหตุ ดังนี้

1. ไม่แยกแยะ เงินของธุรกิจ ออกจากเงินส่วนตัว

เพร าะคิดว่าคือ เจ้าของธุรกิจ จึงไม่ตั้งเงินเดือนให้ตัวเอง

คือง่ายๆ เป็นเจ้าของเงินทั้งหมดอยู่แล้ว จะใช้อย่างไรก็ได้ นี่เป็นความคิดเริ่มต้นที่ผิด

เพร าะต้องมอง ให้ธุรกิจเป็นเหมือนบุคคล อีกคนหนึ่งเลยนะ ที่เรารับจ้างทำงานให้อยู่

เวลาเราจ้ างใคร ก็จ่ายเงินเดือนชัดเจน และใช้เกินกว่านั้นไม่ได้

แต่ตัวเราซึ่งรับจ้ างธุรกิจที่เราก่อตั้งขึ้นนั้น กลับใช้เงินได้ไม่จำกั ด มันส่งผ ลทำให้เงิน ที่เป็นค่าใช้จ่าย แต่ละเดือนไม่คงที่ในแต่ละเดือน

ดังนั้น ต้องตั้งเงินเดือนให้ตัวเอง และจ่ายเงินเดือนเมื่อสิ้นเดือน เหมือนพนักงานคนอื่นๆ

และก็ต้องใช้เงินแค่นั้น ห้ามหยิบมาจากลิ้ นชักอีก ต้องไปหายืมคนอื่นเอาเอง

ถ้าจะยืมจากลิ้ นชักจริงๆ ก็ต้องจดและจากนั้นต้องนำมาคืน

2. ไม่ทำ รายรับรายจ่าย

พอจ่ายเงินเดือนให้ตัวเอง จากนั้นก็ควรจะทำบัญชี รายรับรายจ่ายให้ตัวเอง

เอาแบบคร่าวๆ ก็ได้ ให้พอรู้ว่าแต่ละวัน จ่ายอะไรไปแค่ไหน เหลือเงินใช้ได้อีกเท่าไหร่

ไม่ใช่ใช้สนุกมือไปเรื่อย และเงินเดือนที่ ตั้งให้ตัวเองไม่พอใช้ขึ้นเงินเดือนให้ตัวเองซะ

ในข้อนี้จะขึ้นเท่าไหร่คงไม่มีใครว่า แต่มันก็ควรเป็นตัวเลขที่สมเหตุสมผล และไม่ทำให้กระทบ

กับรายรับธุรกิจของเราด้วย มันจะรู้ได้อย่างไรล่ะ ว่าไม่กระทบก็ต้องทำบัญชีรายรับรายจ่ายของธุรกิจด้วย

หากไม่ทำ อันนี้แ ย่เลย ของส่วนตัวขิ้เกียจทำยังพอได้ แต่ของธุรกิจ

ไม่ทำบัญชีเดี๋ยวจะร วยแบบไม่รู้เรื่อง และเจ๊ งแบบไม่รู้เรื่องได้เหมือนกัน

3. การใช้เงิน ที่ผิ ด ประเภท

เพราะ เพื่อนผมเอาเงิน ที่หยิบจากลิ้ นชักไปซื้ อข้าวกิน ไปซื้ อของใช้เข้าบ้ าน ไปผ่ อ น รถ

สิ่งเหล่านี้ล้วนแต่เป็นเรื่องส่วนตัว เรื่องส่วนตัวต้องใช้เงินส่วนตัวสิ แต่เงินของธุรกิจ

ควรจะจ่ายในสิ่งที่เกี่ยว ข้องกับธุรกิจสิ เช่น ชำระห นี้การค้าซื้ อวัตถุดิ บ จ่ายเงินเดือน ฯลฯ

ตอนที่รับเงินจากลูกค้ า ในเงินแต่ละก้อนที่ได้รับมานั้น ประกอบด้วยต้นทุนของสินค้ า

ต้นทุนค่ าดำเนินการ และกำไ ร อยู่ในนั้นทั้งหมด กลับกันเวลาที่เราหยิบออกมา

กลับมองว่าวันนี้ รับมาเท่าไหร่ มองว่าเป็นรายรับล้วนๆ ไม่คิดจะแย กทุ นแยกกำไรสักนิด

และเมื่อเอาไปใช้ไม่ถูกประเภท มันก็เท่ากับว่า…

ได้ใช้ทั้งกำไ รและต้นทุ นไปทั้งหมดเลย

ทีนี้ก็จะอยู่ในอาก าร ทุนหด กำไรไม่เหลือ

ฉะนั้นแล้วคิดให้ดีนะ เวลาจะทำอะไร

ขอขอบคุณ b i t c o r e t e c h

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น